วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557

ปฎิกิริยาไฟฟ้าเคมี

PAT 2

เรื่อง ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี


PAT ปี 2552 (มีนาคม)


ข้อ 1 ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้







พิจารณาข้อความต่อไปนี้   

ก.  ถ้าใส่แผ่นสังกะสีลงในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊ส ไฮโดรเจนเกิดขึ้น   

ข. ถ้าใส่แผ่นทองแดงลงสารละลายกรด HCl เข้มข้น 1 โมลาร์ จะมีฟองแก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น   

ค. ถ้านำแผ่นสังกะสีใสลงในสารละลาย CuSOเข้มข้น 1 โมลาร์ สารละลายจะเปลี่ยนจากสีฟ้าเป็นไม่มีสีและเกิดตะกอนของโลหะทองแดง   

ง. ถ้านำแผ่นทองแดงและแผ่นสังกะสีใส่ลงในสารละลาย AgNO เข้มข้น 1 โมลาร์ จะเกิดตะกอนของโลหะ ทองแดงและโลหะสังกะสี 

ข้อใดถูกต้อง

       1. ก  ข และ  ค       

       2. ก  และ  ค       

       3.    ข  และ  ค       

       4.    ค  และ  ง 

เฉลย 

ข้อ ก ถูกต้อง

 

 



เมื่อจุ่มแผ่นสังกะสีลงในสารละลายกรด HCl จะเกิดฟองแก๊ส H2  




ข้อ ข ผิด








เมื่อจุ่มแผ่นทองแดงลงในสารละลายกรด HCl จะไม่เกิดฟองแก๊ส H2  

ข้อ ค ผิด

 ข้อ ง ผิด




ข้อ 2 ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้โดยที่ n คือจำนวนอิเล็กตรอนที่ถ่ายโอนในเซลล์ไฟฟ้าเคมี และ Q คืออัตราส่วนความเข้มข้นของสารผลิตภัณฑ์ต่อสารตั้งต้น ตามหลักการของค่าคงที่สมดุล ค่า ที่ถูกต้อง ที่ทำให้เซลล์นี้มีค่า Ecell เท่ากับ +0.54 

คือข้อใด              

       1. Q = [X+]/[Y2+]   = 10

       2. Q = [X+]2/[Y2+] = 10       

       3. Q = [X+]/[Y2+]   = 100       

       4. Q = [X+]2/[Y2+] = 100

เฉลย

PAT ปี 2552 (กรกฎาคม)

ข้อ 1 ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้







การสลายตัวของ H2O2ไปเป็น O2 เกิดขึ้นเองได้เมื่อใด  

       1.    เมื่อสัมผัสกับโลหะ Ag       

       2.    เมื่อสัมผัสกับโลหะ Ni       

       3.    เมื่อสัมผัสกับสารละลาย Ag+       

       4.    เมื่อสัมผัสกับสารละลาย Ni2+

เฉลย 

 ตอบข้อ 3


 ข้อ 2 ค่าศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐานมีดังนี้



การกระทำในข้อใดไม่ส่งผลให้เกิดปฎิกิริยารีดอกซ์
       1.    จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย Sn2+       

       2.    จุ่มโลหะ Fe ลงในสารละลาย Sn4+       

       3.    จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe2+       

       4.    จุ่มโลหะ Sn ลงในสารละลาย Fe3+


เฉลย 

PAT ปี 2552 (ตุลาคม)

พิจารณาสมการและค่าศักย์ไฟฟ้าของปฎิกิริยาต่อไปนี้







ตอบคำถามข้อ 1 และ 2

ข้อ 1 ความสามารถในการรีดิวซ์เรียงลำดับจากน้อยไปมากคือข้อใด






เฉลย














ข้อ 2 ข้อใดถูกเมื่อจุ่มโลหะ K ลงในสารละลายผสมของ M3+ และ J2+

       1.    เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K

      2.    เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K ก่อน แล้วเกิดไอออน M2+

       3.    เกิดโลหะ J เกาะที่ผิวของโลหะ K พร้อมเกิดไอออน  M2+

       4.    ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ

เฉลย 


Entrance ปี 2541 (ตุลาคม)

ข้อ 1  กำหนดให้  E(V) 















การศึกษาการผุกร่อนของโลหะโดยใช้แถบโลหะ A พันทางโลหะ B ผลการทดลอง

ข้อใดถูกต้อง








เฉลย

จากค่า E เรียงลำดับการให้ e- จากง่ายไปยากได้ดังนี้ 

Al > Zn > Cr > Fe > Ni > Cu

การผุกร่อนง่ายจะเป็นตัวให้ e- ง่ายกว่า การป้องกันการผุกกร่อนทำได้หลายวิธีแต่ที่นักเรียนควรทราบ

มี 3 วิธี คือ 

      
      1.       ทาสีหรือทาน้ำมัน เพื่อป้องกันไม่ให้ถูกกับภาวะแวดล้อม
(ส่วนใหญ่ใช้ป้องกันการผุกกร่อนของเหล็ก)
 2.       เคลือบหรือชุบด้วยโลหะเกิด Oxide ที่คงตัวมาก ได้แก่ Cr,Al,ดีบุก เรียกว่าวิธี “Anodize”

     3. ใช้โลหะเสีย e- ง่ายกว่าเหล็ก ใช้ร่วมกับ Fe จะทำให้เหล็กผุกร่อนช้า เรียกว่าวิธี “Cathodic”
      ดังนั้นข้อ 1) ใช้โลหะ Zn เสีย e-  ง่ายกว่า Fe โลหะ Zn จึงเป็นข้อที่ถูกต้อง  
  

    ข้อ 2 เหล็กในสมการใดเป็นตัวรีดิวซ์




 




เฉลย


ตอบข้อ 3 ตัวรีดิวซ์ คือ ตัวให้ e- แสดงว่าเลขออกซิเดนชัดจะต้องเพิ่มขึ้น


 ๐                  +3      -2
 


Fe เปลี่ยนเลขออกซิเดชันจาก 0 เป็น +3 ให้ e 

ข้อ 3 กำหนดให้








ถ้านำครึ่งเซลล์ Ni(s)  Ni (1 mol/dm3) กับครึ่งเซลล์ Cr(s)  Cr3+ 

(1 mol/dm3) ต่อเป็นเซลล์กัลวานิกจะได้ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์คู่นี้มีค่ากี่โวลต์    


       




เฉลย  

ตอบข้อ 2 จากค่า E Ni2+ ชิง e- ดีกว่า Cr3+ หรือโลหะ Cr ให้ e
ง่ายกว่าNi ดังนั้น Cr เป็นแอโนด Ni เป็นแคโทด

        



ข้อ 4 เมื่อนำครึ่งเซลล์ X ǀ X2+ มาต่อกับครึ่งเซลล์ Y ǀ Y2+ ปรากฏว่าเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปทางครึ่งเซลล์ Y ǀ Y2+ ข้อสรุปใดถูกต้อง

เฉลย  

Entrance ปี 2542 (มีนาคม)

ข้อ 1 จากปฏิกิริยาครึ่งเซลล์รีดักชัน และค่า Eo ต่อไปนี้

 

 

 

ถ้าไอออนมีความเข้มข้น 1.00 mol/dm3 และความสามารถเขียนแผนภาพเซลล์ได้ดังนี้
A|A2+(aq) |B+(aq) |B
 ข้อความใดผิด

         1.   อิเล็กตรอนจะวิ่งจากขั้ว B ผ่านวงจรภายนอกไปยังขั้ว A



2. ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ = 1.2 V

    3. ถ้าต่อขั้ว A และ ขั้ว B เข้ากับโวลต์มิเตอร์ เข็มจะเบนไปทาง B
 
    4. ปฏิกิริยาตามแผนภาพเซลล์จะเกิดขึ้นเอง

เฉลย

เฉลย ตอบข้อ



 


 


อิเล็กตรอนจะวิ่งจากขั้ว A เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันไปยังขั้ว B เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เมื่อต่อกับโวลม์มิเตอร์เข็มจะเบนไปทางขั้ว B E cell > 0 ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นได้เอง

ข้อ 2 ซิลิไนด์ไอออนและซัลไฟต์ไอออนทำปฏิกิริยากันได้ดังนี้


X มีค่าเท่าใด
1. -0.11        
2. -0.22                  
      3. -0.46                           
     4. -0.92

เฉลย

 เฉลย ตอบข้อ 4



ข้อ 3 พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้


เฉลย

เฉลย ตอบข้อ 3
ความสามารถในการให้อิเล็กตรอนของโลหะเรียงตามลำดับ ดังนี้


 

 


 

 

 

Entrance ปี 2542 (ตุลาคม)

ข้อ 1 กำหนดให้ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์

 

 

 

 

จงคำนวณค่า E ของเซลล์เป็นโวลด์ของเซลล์ต่อไปนี้ ตามลำดับ
Al| Al3+ ||Ag+| Ag และ Li|Li+|| Fe2+| F

1. 4.06 และ 3.92
2. 2.46 และ 2.60
3. 4.06 และ 2.60
4. 2.46 และ 5.64

เฉลย

 

 

 










ข้อ 2 ในปฏิกิริยาต่อไปนี้








 
ข้อใดถูกต้อง
       1.ก. เท่านั้น 
       2.ข. และ ค. 
       3.ก. และ จ. เท่านั้น  
       4.ก. ง. และ จ

เฉลย

 



 ข้อ 3 ในครึ่งปฎิกิริยาต่อไปนี้ 

คำอธิบายในข้อใดไม่ถูกต้อง
1.ครึ่งปฏิกิริยาทั้งหมดเป็นรีดักชัน
2.เลขออกซิเดชันของ Mn ใน (II) ลดลงเท่ากับ 3
3.เลขออกซิเดชันของ Cr ใน (III) ลดลงเท่ากับ 6
4.มีครึ่งปฏิกิริยาจำนวนสองปฏิกิริยาเกิดในสารละลายกรด และอีกครึ่งปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส

เฉลย